วันอาทิตย์ที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2559

งานวิจัย

บันทึกสรุปงานวิจัย

"การพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรสําหรับเด็กปฐมวัย โดยใชรปูแบบกิจกรรมศิลปะสรางสรรคเพื่อการเรียนรู"
วิชา :  การศึกษาปฐมวัยกับคณิตศาสตร์
ผู้สร้าง: คมขวัญ  ออนบึงพราว
ผู้ช่วย : ดร.พัฒนา  ชัชพงศ  และรองศาสตราจารย ดร.สิริมา  ภิญโญอนันตพงษ์
สำนักพิมพ์ : มหาวิทยาลัยศรีนครนิทรวิโรฒ

         ในการวิจัยครั้งนี้เปนการวิจยัเชิงทดลองทมีุ่งศึกษาการพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณติศาสตร ของเด็กปฐมวยัโดยใชรูปแบบกิจกรรมศิลปะสรางสรรคเพื่อการเรียนรู   เพื่อเปนแนวทางใหครแูละ ผูเกี่ยวของกับการจัดการศกึษาปฐมวัยไดประโยชน  ในการพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร ใหแกเด็กอยางมีประสิทธิภาพ  ดวยการจัดกิจกรรมที่สอดคลองกับพัฒนาการของเด็กตอไป

ความมุงหมายของการวิจัย
        เพื่อเปรียบเทยีบทักษะพื้นฐานทางคณติศาสตรของเด็กปฐมวยักอนและหลังไดรบั การจัดกิจกรรมศิลปะสรางสรรคเพื่อการเรยีนรู

สมมติฐานในการวิจัย 
       เด็กปฐมวยัทไี่ดรับการจัดรูปแบบกิจกรรมศลิปะสรางสรรคเพื่อการเรยีนรูมีพัฒนาทักษะ พื้นฐานทางคณิตศาสตรกอนและหลังการทดลองแตกตางกัน

กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาคนควาครั้งนี้ 
เปนนักเรียนระดับปฐมวัย ชาย – หญิง อายุระหวาง 5 – 6 ป  ซึ่งกําลังศึกษาอยูในระดับชั้นอนุบาลปที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา  2549 โรงเรียนสาธติอนุบาลละอออุทิศ  กรุงเทพมหานคร  สังกัดมหาวิทยาลัยราชภฏัสวนดุสติ    โดยการ จับฉลากมา 1 หองเรียนจาก 10 หอง  และใชการประเมินทักษะพื้นฐานทางคณติศาสตรทผีู่วิจัย สรางขึ้น  โดยเลือกนักเรียนที่มีคะแนนทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรใน 15   อันดับสุดทายเปนกลุม ทดลอง  

เครื่องมือที่ใชในการวิจัย 
1. แผนการจัดกิจกรรมศลิปะสรางสรรคเพื่อการเรียนรู
2. แบบทดสอบทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัยที่ผู้วิิจัยสรางขึ้นมีคาความ เชื่อมั่นทั้งฉบับ  0.86

            การศึกษาค้นควาครั้งนี้เปนการศึกษาผลของกิจกรรมศิลปะสรางสรรคเพื่อการเรยีนรูที่มีตอ การพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวยั  นักเรียนชนั้อนุบาลปที่ 3 โรงเรียนสาธิต อนุบาลละอออุทิศ  กรุงเทพมหานคร  สังกัดมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต  ซึ่งจากการศึกษาคนคว้าปรากฏผล
โดยใชขั้นตอนการเรียนรูตามรูปแบบ 4 ขั้นตอน  ทมี่ีผลตอทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรดังนี้  คือ

1. การกระตุนการเรียนรู  หมายถึง  การใหสิ่งเรากระตุ้นการเรียนรูที่สอดคลองกับ สาระที่ตองการใหนักเรียนอยางใดอยางหนึ่งกระตุนด้วยสื่อของจริง  รูปภาพ  เกม  นิทาน หรือสถานการณเพื่อใหนักเรียนไดแสดง ความคิดเห็นอยางอิสระและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นดวยการสนทนา  ซึ่งทําใหเกิดการเรยีนรูใน ลําดับตอไป

2. กรองสูมโนทัศน  เปนขั้นกระตุนใหเด็กสะทอนคิดดวยการโยงขอความรูที่เด็กเคย เรียนมากับสิ่งที่เรียนรูใหมซงึ่สอดคลองกับ  พวงรตัน  พุมคชา  กลาววาเดก็สามารถเรียนรูความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตรจากกิจกรรมตาง ๆ ใน ชีวติประจําวัน  และความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตรนั้นสามารถสอดแทรกหรือบูรณาการเขากับ วิชาอื่น ๆ การเรียนเกี่ยวกบัตัวเลข  รูปทรง  ขนาด  ลําดับ  การจัดหมู  และความสัมพันธตาง ๆ ถือ วาเปนประสบการณของเด็กที่ชวยสอนเด็กตามธรรมชาติ  สอดคลองกับ จิตทนาวรรณ  เดือนฉาย ที่เนนการสัมผัสจริงโดยการใชประสาทสัมผัสทงั้ 5  โดยตรงกับ ธรรมชาติและสิ่งแวดลอมทหี่ลากหลาย  เปนตวักระตนุใหเด็กคิดหาคําตอบไดเปนอยางด

3. การพัฒนาดวยกิจกรรมศิลปะ  หมายถึง  เปนขั้นของการนําศิลปะมาพัฒนาการ เรียนรูใหชัดเจนขึ้น  โดยครูมอบหมายใหเด็กถายโยงความรู  ความเขาใจหรือสาระที่เรียนรูดวยการ ทํากิจกรรมศลิปะสรางสรรค ตามรูปแบบศลิปะที่สอดคลองกับจุดประสงคการเรียน  เด็กสามารถ ถายทอดความรูความเขาใจ  และความคิดจินตนาการที่ตนเองรูสกึมาเปนงานศลิปะโดยการทํางาน ศิลปะในรูปแบบศลิปะสรางสรรคเพื่อการเรียนรูทั้ง  3  รูปแบบคือ   ศลิปะเปลี่ยนแบบ  ศลิปะบูรณา การและศลิปะคนหา

4. สรุปสาระสําคัญที่เรียนรู  เปนขั้นสดุทายของกิจกรรมศิลปะสรางสรรคเพื่อการ เรียนรู  เปนการสรุปความรูอาจใชการถามใหเด็กทบทวนความรูความเขาใจ  สาระที่เรียนรูจากงาน ศิลปะที่ทําโดยเด็กกับครูสรุปสิ่งที่เรียนรูรวมกัน

สรุปผล

   1. เด็กปฐมวยัที่ไดรับการจัดกิจกรรมศิลปะสรางสรรคมีคะแนนเฉลี่ย   ทักษะพื้นฐานทาง คณิตศาสตร  โดยรวม 5 ทักษะและจําแนกรายทักษะ คือ ทักษะการบอกตาํแหนง  ทักษะการ จําแนก   ทักษะการนับ  1 – 30   ทักษะการรูคารูจํานวน   และทักษะการเพิ่ม – ลด  ภายในจํานวน 1 – 10 อยูในระดับดี  แตกตางจากกอนทดลองอยางมีนัยสําคัญทางสถิติทรี่ะดับ  .01  และมีคาเฉลี่ย สูงขึ้น

   2. เด็กปฐมวยัที่ไดรับการจัดกิจกรรมศิลปะสรางสรรค      มีพัฒนาการทักษะพื้นฐานทาง คณิตศาสตรในทุกทักษะสูงขึ้นกวากอนการทดลองอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดบั  .01





ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น